นายมนตรี มหาพฤกษ์พงศ์ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่
จากภาวะการส่งออกไทยที่หดตัวต่ อเนื่อง ผู้บริหาร ส.อ.ท. ประเมินว่า ภาพรวมการผลิตเพื่อส่งออกสินค้ าในช่วงเดือนมกราคม-พฤษภาคม 2566 ส่วนใหญ่มีทิศทางหดตัว ถึงแม้จะมีบางอุตสาหกรรมที่ยั งสามารถรักษาระดับการส่งออกไว้ ได้ โดยปัจจัยสำคัญมาจากคำสั่งซื้ อสินค้าจากต่างประเทศที่ ลดลงจากภาวะเศรษฐกิจของประเทศคู่ ค้าที่ชะลอตัว โดยเฉพาะในตลาดสหรัฐอเมริกา จีน และอาเซียน นอกจากนี้ภาวะต้นทุนการผลิตที่ ยังอยู่ในระดับสูงทั้งราคาพลั งงาน ค่าไฟฟ้า ราคาวัตถุดิบ/ชิ้นส่วน และอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่ปรั บตัวสูงขึ้น ยังคงส่งผลกระทบต่อขี ดความสามารถในการแข่งขั นของภาคอุตสาหกรรม ดังนั้น ผู้บริหาร ส.อ.ท. จึงเสนอให้ภาครัฐเร่งช่วยกระตุ้ นการส่งออก และบรรเทาผลกระทบจากการส่งออกที่ หดตัว โดยเฉพาะการออกมาตรการดูแลต้นทุ นการผลิตให้ผู้ ประกอบการสามารถแข่งขันได้ เช่น ค่าไฟฟ้า พลังงาน ค่าโลจิสติกส์ การเร่งเจรจาความตกลงการค้าเสรี (FTA) และการส่งเสริมให้มีการใช้สิทธิ ประโยชน์ทางภาษีใน FTA ฉบับเดิมให้มากขึ้น รวมทั้งการเพิ่มการจัดกิจกรรมส่ งเสริมการส่งออกสินค้าไปยั งตลาดเป้าหมายใหม่ๆ ที่มีศักยภาพ เช่น กิจกรรมจับคู่ทางธุรกิจ (Business Matching) การจัดงานแสดงสินค้าทั้งในและต่ างประเทศ เป็นต้น
45 กลุ่มอุตสาหกรรม และ 76 สภาอุตสาหกรรมจังหวัด มีสรุปผลการสำรวจ FTI Poll ครั้งที่ 30 จำนวน 5 คำถาม ดังนี้
1. ยอดการส่งออกสินค้าในช่วงเดื อนมกราคม - พฤษภาคม 2566 มีทิศทางอย่างไร
อันดับที่ 1 : ทรงตัว 27.7%
อันดับที่ 2 : ลดลงมากกว่า 20% 23.3%
อันดับที่ 3 : ลดลง 1-10% 19.0%
อันดับที่ 4 : ลดลง 11-20% 13.8%
อันดับที่ 5 : เพิ่มขึ้น 1 - 10% 12.4%
อันดับที่ 6 : เพิ่มขึ้น 11 - 20% 3.3%
อันดับที่ 7 : เพิ่มขึ้นมากกว่า 20% 0.5%
2. ตลาดประเทศคู่ค้าที่อุ ตสาหกรรมส่งออกสินค้ามากที่สุด
อันดับที่ 1 : เอเชีย (ไม่รวมอาเซียน) 36.2%
อันดับที่ 2 : อาเซียน 27.6%
อันดับที่ 3 : สหภาพยุโรป 12.4%
อันดับที่ 4 : สหรัฐอเมริกา 11.4%
อันดับที่ 5 : ประเทศอื่นๆ 7.6%
อันดับที่ 6 : ตะวันออกกลาง 4.3%
อันดับที่ 7 : ละตินอเมริกา 0.5%
3. ปัจจัยภายในเรื่องใดที่ทำให้ การส่งออกสินค้าของอุ ตสาหกรรมหดตัว (Multiple choices)
อันดับที่ 1 : ภาวะต้นทุนการผลิตที่ยังอยู่ ในระดับสูงทั้งราคาพลังงาน 69.5%
ค่าไฟฟ้า ราคาวัตถุดิบ/ชิ้นส่วน และอัตราดอกเบี้ยเงินกู้
อันดับที่ 2 : การแข่งขันระหว่างธุรกิจที่เพิ่ มสูงขึ้น 49.0%
อันดับที่ 3 : ภาวะอุปทานล้นตลาด (Over Supply) และสินค้าคงคลังยังอยู่ในระดั บสูง 37.1%
ทำให้หลายโรงงานต้องลดการผลิ ตลง
อันดับที่ 4 : ต้นทุนค่าขนส่งโลจิสติกส์ ภายในประเทศที่ยังอยู่ในระดับสู ง 31.0%
4. ปัจจัยภายนอกเรื่องใดบ้างที่ ทำให้การส่งออกสินค้าของอุ ตสาหกรรมหดตัว (Multiple choices)
อันดับที่ 1 : คำสั่งซื้อสินค้าจากต่ างประเทศลดลงจากภาวะเศรษฐกิจ 71.4%
ของประเทศคู่ค้าที่ชะลอตัว
อันดับที่ 2 : สินค้าจีนทะลักเข้ามาตี ตลาดในประเทศคู่ค้า เช่น กลุ่มประเทศอาเซียน 30.5%
อันดับที่ 3 : ปัญหาวัตถุดิบ/ชิ้นส่วน อุปกรณ์ที่ยังขาดแคลนและราคาแพง 29.5%
อันดับที่ 4 : คำสั่งซื้อจากต่างประเทศปรับตั วลดลงตามฤดูกาล (Seasonal) 28.1%
5. ภาคอุตสาหกรรมต้องการให้ภาครั ฐดำเนินการในเรื่องใดเพื่อช่ วยกระตุ้นการส่งออก และบรรเทาผลกระทบจากการส่งออกที่ หดตัว (Multiple choices)
อันดับที่ 1 : ออกมาตรการดูแลต้นทุนการผลิตให้ ผู้ประกอบการสามารถแข่งขันได้ 80.0%
เช่น ค่าไฟฟ้า พลังงาน ค่าโลจิสติกส์
อันดับที่ 2 : เร่งเจรจาความตกลงการค้าเสรี (FTA) และส่งเสริมให้มีการใช้สิทธิ ประโยชน์ 52.4%
ทางภาษีใน FTA ฉบับเดิมให้มากขึ้น
อันดับที่ 3 : เพิ่มการจัดกิจกรรมส่งเสริ มการส่งออกสินค้าไปยังตลาดเป้ าหมายใหม่ ๆ 41.9%
เช่น การจับคู่ทางธุรกิจ (Business Matching) การจัดงานแสดงสินค้าทั้งในและต่ างประเทศ
อันดับที่ 4 : เร่งดำเนินการเจรจาเพื่อแก้ไขปั ญหาอุปสรรคทางการค้ากับประเทศคู่ ค้า 40.0%
และส่งเสริมเตรียมความพร้อมให้ กับผู้ประกอบการไทยในการปฏิบัติ ตาม
มาตรการที่มิใช่ภาษี (NTB)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น