กรุงเทพมหานคร, 26 พฤษภาคม 2563 – ขณะที่ภาคธุรกิจของไทยกำลังเริ่ มวางแผนการฟื้นฟูธุรกิ จจากการชะลอตัวทางเศรษฐกิจ Qualtrics เผยผลสำรวจล่าสุด ระบุถึงปัจจัยสำคัญในการสร้ างความเชื่อมั่นต่อแบรนด์ในช่วง New normal และแนวทางที่ผู้บริโภคต้องการที่ จะมีส่วนร่วมกับแบรนด์ โดยอินไซต์ดังกล่าวจะช่วยให้ แบรนด์สามารถวางแผนและดำเนิ นการในการสร้างความไว้ วางใจและความเชื่อมั่นต่อแบรนด์ ท่ามกลางสถานการณ์ที่ไม่แน่ นอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ในช่วงเวลาที่มาตรการล็อคดาวน์ ยังคงมีผลกระทบต่อเนื่องกับธุ รกิจในตลาด ผลสำรวจพบว่า ผู้บริโภคในไทยกว่าร้อยละ 75 มองว่า แบรนด์จำเป็นต้องใส่ใจดูแลพนั กงานและลูกค้าให้มากกว่ ามาตรฐานความปลอดภัยหรื อคำแนะนำที่ควรจะเป็น
การปรับใช้แนวคิด “ลูกค้าต้องมาเป็นอันดับแรก (customer first) ” คือ สิ่งสำคัญในการสร้างความเชื่อมั่ นต่อแบรนด์ในภาวะวิกฤติ โดยผู้บริโภคร้อยละ 62 ชี้แบรนด์ไม่ ควรแสวงหาผลประโยชน์จากวิกฤติ ขณะที่ร้อยละ 40 ระบุว่าแบรนด์ควรรักษาระดั บราคาสินค้าและบริการให้มี ความสมเหตุสมผล และร้อยละ 31 ต้องการให้แบรนด์ใส่ใจดูแลลูกค้ า
นอกจากนี้ยังพบว่า ในช่วงการระบาดของโควิด-19 ผู้บริโภคกว่าร้อยละ 46 มีความเชื่อมั่นเพิ่มมากขึ้น ต่อแบรนด์ที่พวกเขาเลือกใช้อยู่ เป็นประจำ
ลิซ่า คาทรี หัวหน้าฝ่ายบริหารประสบการณ์ และวิจัยแบรนด์ ประจำภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกและญี่ ปุ่น ของ Qualtrics กล่าวว่า “ความเชื่อมั่น คือสิ่งสำคัญในช่วงการเปิ ดทำการอีกครั้งของธุรกิจ ท่ามกลางความไม่แน่นอน ระดับความเชื่อมั่นต่อแบรนด์ที่ สูง คือ สิ่งสะท้อนความมั่นใจของลูกค้ าในการตัดสินใจซื้อสินค้าหรื อใช้บริการของแบรนด์”
“มาตรการต่างๆ อาจส่งผลกระทบต่อการดำเนิ นการทางธุรกิจเพียงระยะเวลาหนึ่ ง แต่อิทธิพลต่อพฤติกรรมและทั ศนคติของผู้บริโภคจะมี ผลในระยะยาว ในช่วงเดือนที่ผ่านมา เราพบความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ ในรูปแบบการเลือกซื้อสินค้าหรื อบริการของผู้บริโภคกับแบรนด์ต่ างๆ โดยความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะยั งเกิดขึ้นต่อไปและแปรผั นไปตามเงื่อนไขข้อกำหนดของตลาด ดังนั้น เพื่อสร้างความได้เปรียบในตลาด ภาคธุรกิจจำเป็นต้องคอยติดตามทำ pulse check ว่าพฤติกรรมผู้บริโภค และปัจจัยที่มีผลต่อความชื่ นชอบในแบรนด์ เปลี่ยนแปลงไปอย่างไรบ้าง รวมถึงศึกษาว่า แนวทางปฏิบัติขององค์กรแต่ ในละช่วงเวลาช่วยส่งเสริมภาพลั กษณ์ของแบรนด์แตกต่างกันไปอย่ างไรบ้าง
“งานวิจัยของ Qualtrics พบว่า ผู้บริโภคส่วนใหญ่ (ร้อยละ 87) มองว่าการตอบโต้ของแบรนด์ ในสภาวะวิกฤติมีผลอย่างยิ่งต่ อระดับความเชื่อมั่นในแบรนด์ โดยมีเพียง ร้อยละ 2 เท่านั้นที่ไม่เห็นความสำคัญ อินไซต์ดังกล่าวตอกย้ำว่า แบรนด์ที่มีส่วนสนับสนุนลูกค้ าให้สามารถปรับตัวเข้าสู่ new normal ได้ จะสามารถสร้างความไว้ วางใจและความเชื่อมั่นต่อแบรนด์ ซึ่งจะส่งผลดีต่อการฟื้นตั วทางธุรกิจและเพิ่มศั กยภาพในการแข่งขันอีกด้วย” ลิซ่า คาทรี กล่าวเพิ่มเติม
ฝ่าวิกฤติด้วยโซลูชันล้ำสมัย โดยไม่มีค่าใช้จ่าย
Qualtrics ได้เปิดตัวโซลูชัน COVID-19 Brand Trust Pulse โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย เพื่อช่วยให้องค์กรธุรกิจเข้ าใจถึงปัจจัยในการสร้างความเชื่ อมั่นต่อแบรนด์และวางแผนการดำเนิ นงานที่ตอบโจทย์ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ นวัตกรรมนี้เป็นหนึ่งในกลุ่ มโซลูชันเพื่อการบริ หารประสบการณ์ที่บริษัทฯ เปิดให้สาธารณะใช้งาน โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายในเดือนก่ อน ซึ่งได้มีส่วนสนับสนุ นโครงการอย่างน้อย 31,000 โครงการของกว่า 8,500 องค์กร
Back to Business คือฟรีโซลูชันล่าสุด จาก Qualtrics ที่ออกแบบมา เพื่อช่วยให้องค์กรสามารถเข้าถึ งลูกค้า เข้าใจความคาดหวังของลูกค้ าและความพึงพอใจต่อแบรนด์ อีกทั้งลงมือดำเนินการเพื่อสร้ างความมั่นใจให้แก่ลูกค้า ในช่วงการกลับมาเปิดให้บริ การทางธุรกิจอีกครั้ง
กรีนสปอต หนึ่งในผู้ผลิตเครื่องดื่มชั้ นนำของไทย วางใจเลือกใช้ Qualtrics COVID-19 Brand Trust Pulse เพื่อเป็นแนวทางในการวางกลยุทธ์ ทางการตลาดในช่วงวิกฤติโควิด-19
“หนึ่งในความท้าทายที่สำคัญที่ สุดของแบรนด์ในวิถีชีวิตแบบ new normal คือ การมองหาหนทางที่จะเข้าถึงลูกค้ า และตอบโจทย์พวกเขาอย่างต่อเนื่ อง แบรนด์ต้องมองให้เห็นถึงความต้ องการและความสนใจของผู้บริโภค รวมถึงพฤติกรรมที่กำลังเปลี่ ยนแปลงไปจากเดิม ในช่วงวิกฤติที่ผ่านมา Qualtrics COVID-19 Brand Trust ช่วยให้กรีนสปอตสามารถสร้ างและดูแลความสัมพันธ์ระหว่ างแบรนด์และลูกค้าได้อย่างมี ประสิทธิภาพ โดยอินไซต์ที่ได้มาอย่างเรี ยลไทม์ทำให้เราสามารถพัฒนารู ปแบบการบริหารประสบการณ์ลูกค้ าได้อย่างเต็มศักยภาพ การลงทุนในครั้งนี้มีบทบาทอย่ างยิ่งต่อการรักษาและยกระดั บความเชื่อมั่นต่อแบรนด์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงการกลั บมาเปิดดำเนินการอีกครั้งของธุ รกิจของเรา” นางสาวสิตาพันธ์ ศรีชูผู้จัดการฝ่ายวิจัยผู้บริ โภค บริษัท กรีนสปอต จำกัด กล่าว
สื่อสาร ด้วยสาระที่ใช่ และสื่อกลางที่ตอบโจทย์
ในด้านการสื่อสารของแบรนด์ ผู้บริโภคนั้นให้ความสนใจต่ อการดำเนินงานของแบรนด์ที่เปลี่ ยนไปจากผลกระทบของโควิด-19
มากกว่าข่าวสารด้านการขายหรื อโปรโมชั่นทางการตลาด โดยเนื้อหา 3 อันดับแรก ที่ผู้บริโภคต้องการทราบ ได้แก่ กลยุทธ์ที่ธุรกิจใช้ตอบสนองต่ อวิกฤติ (ร้อยละ 24), ผลกระทบต่อการจัดส่งสินค้า (ร้อยละ 22) และข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ และบริการ (ร้อยละ 22)
การศึกษาของ Qualtrics ยังเผยถึงช่องทางการสื่อสารที่ ผู้บริโภคไทยต้องการให้แบรนด์ เลือกใช้ โดยแพลตฟอร์มออนไลน์ได้รั บความนิยมสูงสุด นำโดย Facebook (ร้อยละ 23) สื่อออนไลน์ (ร้อยละ 20) และโฆษณาทางโทรทัศน์ (ร้อยละ 15) ส่วนช่องทางอื่นๆ ได้แก่ Whatsapp (ร้อยละ 12) TikTok (ร้อยละ 12) และวิทยุ (ร้อยละ 13)
มาตรการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social distancing) ได้สร้างข้อจำกัดในการสร้างปฏิ สัมพันธ์ระหว่างแบรนด์และลูกค้า การสื่อสารที่สม่ำเสมอและมี ประสิทธิภาพจึงมีความสำคัญอย่ างยิ่งต่อการเข้าถึงผู้บริ โภคอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ในการสื่อสารอย่างมีศักยภาพ แบรนด์จำเป็นต้องสร้างสมดุ ลระหว่างความถี่และสาระของการสื่ อสาร องค์ประกอบที่มีความเหมาะสมนี้ จะช่วยให้แบรนด์อยู่ ในความสนใจของลูกค้าอยู่เสมอ ในยามที่ตลาดมีการเปลี่ ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น