กรุงเทพฯ – ท่ามกลางการแพร่ระบาดของโรคเชื้ อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) มีการแพร่ระบาดในหลายประเทศ รวมถึงประเทศไทย รัฐบาลประกาศเลื่อนการเปิ ดเทอมยาวออกไป ด้วยตระหนักถึงความปลอดภัยในชี วิตของนักเรียนนักศึกษาที่จะได้ รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดดั งกล่าว จึงทำให้สถานศึกษามีการปรั บการเรียนการสอนเป็นในรู ปแบบของการเรียนทางออนไลน์ ทำให้เด็กๆ ต้องใช้เวลาไปกับหน้าจอดิจิทั ลมากกว่าปกติเป็นเวลาหลายชั่ วโมงต่อวัน ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้เป็นการเพิ่ มความเสี่ยงต่อการเกิดปั ญหาทางด้านสายตาและสุขภาพตา เพราะแสงสีน้ำเงิน (Blue light) จากอุปกรณ์ดิจิทัลต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นโน้ตบุ๊ค แท็บเล็ต และสมาร์ทโฟน อาจเป็นอันตรายต่อดวงตาของเด็กๆ ทั้งสิ้น และการเล่นอุปกรณ์เหล่านี้เป็ นเวลานานๆ จะนำมาซึ่งปัญหาและผลกระทบต่ อเด็ก ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
ภัยที่เกิดจากการใช้อุปกรณ์ดิจิ ทัล ที่ส่งผลต่อสายตาเด็กที่พ่อแม่ อาจมองข้าม ประกอบด้วย ภาวะตาล้า (Digital Eye Strain) เกิดจากการจ้องจอมากเกินไปเป็ นระยะเวลานานๆ ก็จะทำให้การหดตัวของกล้ามเนื้ อเล็กๆ ในตาหดตัวเกือบตลอดเวลาทำให้มี อาการตาล้า จึงเป็นที่มาของการมองเห็นที่ พร่ามัวชั่วคราว โรคจอประสาทตาเสื่อม (AMD) โดยแสงสีน้ำเงินจากอุปกรณ์ดิจิ ทัล จะกระตุ้นให้เกิดอนุมูลอิสระ ซึ่งจะทำลายเซลล์ประสาทตา หากใช้ติดต่อกันเป็ นเวลานานอาจเพิ่มความเสี่ยงให้ เกิดโรคจอประสาทตาเสื่อมได้ โรคสายตาสั้นมาก (pathological myopia) การเพ่งอยู่หน้าจอเป็ นระยะเวลานานกว่า 2.5 ช.ม ต่อวัน โดยเฉพาะในระยะน้อยกว่า 20 ซ.ม นานกว่า 45 นาที เป็นหนึ่งในปัจจัยเสี่ยงที่ ทำให้เกิดภาวะสายตาสั้นได้เร็ วและมากขึ้นในเด็ก ไม่เพียงภาวะสายตาสั้นเพิ่มขึ้ นเร็วกว่าปกติแต่ยัง เสียบุคลิกภาพ เพราะต้องหยีตาตลอด เมื่อเด็กมองไม่ชัด ซึ่งภาวะสายตาสั้นทำให้จำเป็นต้ องหยีตามองสิ่งต่างๆ ที่อยู่ในระยะไกลตลอดเวลา ซึ่งมีผลต่อวิสัยทัศน์และบุคลิ กภาพ เพื่อเป็นการปกป้องไม่ให้ สายตาของลูกเสียก่อนวัยอันควร เอสซีลอร์ ผู้เชี่ยวชาญด้านผลิตภัณฑ์สำหรั บดวงตาชั้นนำของโลก มีข้อแนะนำดีๆสำหรับคุณพ่อคุ ณแม่มาฝากกัน
เลนส์Blue UV Capture ของเอสซีลอร์
เครดิตภาพ: เมญ่า-นนธวรรณบรามาซ มิสไทยแลนด์เวิลด์ 2014
เครดิตภาพ: เมญ่า-นนธวรรณบรามาซ มิสไทยแลนด์เวิลด์ 2014
· เลือกใช้แว่นตาที่มีเลนส์ กรองแสงสีน้ำเงิน
การเลือกใช้แว่นตาที่มี เทคโนโลยีกรองแสงสีน้ำเงิน จึงเป็นก้ าวแรกในการถนอมดวงตาของเด็ก และลดความเสี่ยงจากโอกาสการเกิ ดปัญหาทางสายตาที่รุนแรงขึ้ นในอนาคต เลนส์เอสซีลอร์ Blue UV Capture นวัตกรรมกรองแสงสีน้ำเงินชนิดอั นตรายในเนื้อเลนส์แต่ปล่อยช่ วงแสงที่มีประโยชน์ผ่านเข้ามา เลนส์ Blue UV Capture สามารถปกป้องดวงตามากกว่าเลนส์ ใสทั่วไป 3 เท่า รวมถึงป้องกันรังสียูวีทั้งด้ านหน้าและด้านหลังของเลนส์มากถึ ง 35 เท่า เลนส์แว่นตาแม้ใช้เพียงปกป้ องดวงตาโดยไม่มีค่าสายตาเพื่ อแก้ไขการมองเห็น ก็ควรเลือกเลนส์คุณภาพเพื่ อถนอมดวงตาของลูกน้อยในระยะยาว
· ใช้จอคอมพิวเตอร์ที่ เหมาะสมและปรับแสงสว่างหน้ าจอให้พอเหมาะ
พ่อแม่ควรเลือกจอคอมพิวเตอร์ที่ มีขนาดมากกว่า 19 นิ้ว และเป็นจอที่กันแสงสะท้อน เพราะถ้ามีแสงสะท้อนจะทำให้รู้ สึกไม่สบายตา และที่สำคัญควรปรับสภาพแวดล้อม แสงสว่างโดยรอบให้พอดี เพื่อลดความสว่างของหน้าจอไม่มื ดหรือสว่างจนเกินไป และควรจัดแสงจากภายนอกให้อยู่ ในตำแหน่งที่เหมาะสม ไม่ให้แยงตาโดยตรงเพราะจะทำให้ ตาล้ามากขึ้น
· กำหนดระยะห่างระหว่างสายตากั บหน้าจอ
ระยะห่างที่พอเหมาะสำหรับอุ ปกรณ์ดิจิทัลจะทำให้ลูกของคุ ณไม่ต้องใช้กำลังโฟกั สของตามากเกินไปจนเกิดอาการล้ าของตาได้ หากใช้แทบเล็ต หรือหน้าจอมือถือควรห่างประมาณ 1 ฟุต ถ้าเป็นคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ ะควรห่างประมาณ 2 ฟุต ซึ่งคุณพ่อคุณแม่ควรจัดระยะห่ างให้เหมาะสม เพื่อสุขภาพสายตาที่ดีสำหรับลู กๆ รวมถึงคุณพ่อคุณแม่เองด้วย
· ปรับขนาดตัวอักษรบนหน้าจอดิจิทั ล ไม่ให้มีขนาดเล็กจนเกินไป
ขนาดตัวอักษรที่ทำให้อ่านได้ สบายตาในเวลานานๆ จะต้องมีขนาดอย่างน้อย 3 เท่าของขนาดที่เล็กที่สุดที่ สามารถอ่านได้ในระยะนั้น
· พักสายตาด้วยเทคนิค 20-20-20
พ่อแม่ควรฝึกให้ลูกรู้จักพั กสาตา ด้วยเทคนิค 20-20-20 คือทุก 20 นาทีในการจ้องหน้าจออุปกรณ์ดิจิ ทัลต่างๆ ควรพักสายตา 20 วินาที โดยมองออกไปไกล 20 ฟุต เพื่อช่วยให้ดวงตามีการเปลี่ ยนระยะโฟกัสและผ่อนคลาย ซึ่งในระหว่างนี้ผู้ ปกครองอาจให้เด็กๆ ได้พักจากหน้าจอลุกยืดเส้นยื ดสายด้วย เพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อส่วนอื่ น ๆ ของร่างกายไปพร้อมกัน
นอกเหนือจากการดูแลปกป้ องดวงตาของเด็กๆแล้ว สิ่งที่สำคัญที่สุดคือพ่อแม่ ควรพาลูกไปตรวจสุขภาพตาเป็ นประจำอย่างน้อยปีละครั้ง เพราะการมองเห็นคือสิ่งสำคัญ เราจึงไม่ควรมองข้ ามการตรวจดวงตา เพราะโรคทางตาหลายโรคที่จะไม่ แสดงอาการจนกว่าจะเข้าสู่ระยะรุ นแรงแล้ว เมื่อถึงเวลานั้นก็อาจสายเกิ นกว่าจะรักษาให้เป็นปกติได้
สำหรับข้อมูลผลิตภัณฑ์สำหรั บการดูแลสุขภาพดวงตา หรือรายละเอียดเพิ่มเติ มสามารถเข้าไปที่เว็บไซต์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น