แชฟฟ์เลอร์ ผู้ผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ สำหรับยานยนต์และอุตสาหกรรมระดั บโลก ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลอีสาน (RMUTI) ร่วมในพิธีลงนามบันทึกข้ อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MoU) เพื่อพัฒนาความรู้ด้านระบบขนส่ งรถไฟและเทคโนโลยีในประเทศไทย โดยร่วมกับบริษัท ทีเอ็นจี คอร์ปอเรชั่น และบริษัท เฮฟวี่ 34 เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด เพื่อพัฒนาและดำเนินการหลักสู ตรโปรแกรมการเรียนรู้และการฝึ กอบรมทางเทคนิคเกี่ยวกั บระบบการขนส่งทางรถไฟ ที่วิทยาลัยทักษะนวัตกรรม (CIS) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอี สาน แชฟฟ์เลอร์เป็นหุ้นส่วนด้ านการพัฒนาระดับโลกสำหรั บการขนส่งระหว่างเมือง
นายมาร์ติน ชไรเบอร์ ประธานฝ่ายอุตสาหกรรมภาคพื้ นเอเชียแปซิฟิก บริษัท แชฟฟ์เลอร์ กล่าวว่า “แชฟฟ์เลอร์ให้บริการด้านอุ ตสาหกรรมมานานกว่าสิบปีด้วย ความสามารถของเราในการผลิตตลั บลูกปืนสำหรับภาคอุตสาหกรรมที่ เกี่ยวกับระบบขนส่งรถไฟ เราพร้อมที่จะขยายบทบาทในการพั ฒนาภาคอุตสาหกรรมนี้อย่างต่อเนื่ อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตพัฒนายุ ทธศาสตร์ของเอเชียกลางและเอเชี ยตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งประเทศจีน เนื่องจากเรามองเห็นถึงแนวโน้ มด้านการขนส่งระหว่างเมืองในปั จจุบัน ทั้งนี้โครงการส่วนใหญ่จำเป็นต้ องใช้ทีมงานที่เชี่ยวชาญและมี ประสบการณ์สูง รวมทั้งต้องมีความเข้ าใจในระบบเทคโนโลยีและผลิตภัณฑ์ และโซลูชั่นที่เป็นนวัตกรรม ซึ่งแชฟฟ์เลอร์เป็นบริษัทชั้ นนำที่มีความเชี่ยวชาญในเชิงลึก และมีความรู้ด้านเทคนิ คในโครงการรถไฟที่หลากหลาย โดยเฉพาะด้านการขนส่งด้ วยความเร็วสูง การขนส่งสินค้า และการขนส่งในท้องถิ่นในเมื องใหญ่ทั่วโลก ที่ผ่านมาแชฟฟ์เลอร์ได้ ทำการทดลองในห้องปฏิบัติ การทดสอบในประเทศเยอรมนี และประเทศจีน ซึ่งมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่ อง”
นายมาร์ติน ชไรเบอร์ กล่าวว่า ในฐานะที่เป็นผู้นำระดับโลกในด้ านนวัตกรรม แชฟฟ์เลอร์มีความพร้อมที่ จะขยายความร่วมมือกับมหาวิทยาลั ย สถาบันการศึกษาและวิจัยต่าง ๆ ซึ่งพิธีลงนามบันทึกข้ อตกลงความร่วมมือทางวิ ชาการระหว่างมหาวิทยาลั ยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานและแชฟฟ์ เลอร์ในครั้งนี้ จะช่วยเสริมสร้างเครือข่ายนวั ตกรรมระดับโลกของแชฟฟ์เลอร์ และการขยายฐานความรู้ให้ครอบคลุ มในกลุ่มผู้เชี่ ยวชาญในประเทศไทยได้ โดยก่อนหน้านี้ในปี พ.ศ. 2560 แซฟฟเลอร์ฯ จัดตั้ง “แชฟฟ์เลอร์ ฮับ (Schaeffler Hub)” เพื่อการวิจัยขั้นสูงที่มหาวิ ทยาลัย Southwest Jiaotong (SWJTU) จังหวัดเฉินตู ประเทศจีน โดยความร่วมมือในครั้งนั้น มีจุดมุ่งหมายมุ่งเน้นไปที่ การออกแบบและการพัฒนาตลับลูกปื นใน axlebox เพิ่มเติม โดยการรวมความสามารถในการวิจั ยของมหาวิทยาลัยเข้ากับความเชี่ ยวชาญด้านระบบเมคคาทรอนิกส์ และระบบของแชฟฟ์เลอร์ในการบำรุ งรักษาแบบคาดการณ์ล่วงหน้าได้
มหาวิทยาลัยที่มีศักยภาพสูงตั้ งอยู่ในศูนย์กลางด้านการพั ฒนาระบบขนส่งรถไฟของไทย
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอี สาน (RMUTI) เป็นส่วนหนึ่งของมหาวิทยาลั ยเทคโนโลยีราชมงคล (RMUT) ซึ่งเป็นสถาบันหลักของมหาวิ ทยาลัย 9 แห่งในประเทศไทย ที่ให้การศึกษาระดับปริญญาตรี และระดับที่สูงกว่า โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลอีสานเปิดดำเนินงาน 5 วิทยาเขตในภาคตะวันออกเฉียงเหนื อของประเทศไทย ซึ่งเป็นภูมิภาคการพัฒนาที่สำคั ญสำหรับโครงการ Belt and Road โครงการรถไฟความเร็วสูงระยะที่ 1 (พ.ศ.2560 - 2564) จากกรุงเทพถึงจังหวัดนครราชสีมา (252.5 กม.) อยู่ในระหว่างการก่อสร้าง และระยะที่ 2 (พ.ศ.2565 - 2569) จะขยายจากจังหวัดนครราชสีมาไปจั งหวัดหนองคายระยะทาง 355 กม. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอี สาน นับเป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสี ยงในฐานะเป็นหนึ่งในสถาบันการศึ กษาชั้นนำที่มีส่วนช่วยในการพั ฒนามาตรฐานการศึกษาด้านเทคนิ คและการฝึกอบรมวิชาชี พในประเทศไทยโดยเฉพาะในด้ านระบบการขนส่งทางรถไฟ
นายชัยชาญ โอปนายิกุล รองผู้จัดการประจำประเทศไทย บริษัท แชฟฟ์เลอร์ แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จำกัด กล่าวเสริมว่า “ความร่วมมือระหว่างแชฟฟ์เลอร์ และพันธมิตรธุรกิจในครั้งนี้นั บเป็นการมีส่วนร่วมครั้ งแรกของกลุ่มแชฟฟ์เลอร์ ในโครงการพัฒนาด้านวิชาการสำหรั บระบบขนส่งระหว่างเมืองในไทย ซึ่งจะสอดคล้องกั บนโยบายและแผนพัฒนาของรัฐบาลไทย ที่พร้อมสนับสนุนและส่งเสริมด้ านเทคโนโลยีใหม่และทันสมัยในอุ ตสาหกรรมและระบบขนส่งในภูมิ ภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Belt and Road”
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น